playojokickercode.com

โหลด Youtube Go

การ สอน แบบ Unplugged | บทความ - Cs Unplugged เรียน Coding โดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์

June 8, 2022

คลิกเลือก ซึ่งเป็นชุดคำสั่งเกี่ยวกับรูปร่าง การเปลี่ยนรูปร่าง สี ตำแหน่ง ขนาด การแสดงบทสนทนา เป็นต้น 2. คลิกลากคำสั่ง say hello for 2 secs ไปยังพื้นที่ทำงาน ซึ่งคำสั่งนี้เป็นคำสั่งให้ตัวละครแสดงคำพูด "Hello" ระยะเวลา 2 วินาที 3. ให้เปลี่ยนคำพูดหรือระยะเวลาตามต้องการแล้วคลิกคำสั่งสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับตัวละคร 4. คลิกลากคำสั่ง say hello ไปยังพื้นที่ทำงานซึ่งคำสั่งนี้เป็นคำสั่งให้ตัวละครแสดงคำพูด "Hello" โดยไม่กำหนดเวลา 5. คลิกลากคำสั่ง think Hmm.. for 2 secs ไปยังพื้นที่ทำงาน ซึ่งคำสั่งนี้จะสั่งให้ตัวละครนึกคิดเป็นคำพูด "Umm" ระยะเวลา 2 วินาที 6. ให้เปลี่ยนคำพูดหรือระยะเวลาตามต้องการ แล้วคลิกคำสั่งสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และคลิกเลือกคำสั่ง think Hmm.. เพื่อเปรียบเทียบ 7. คลิกลากเลือกซ่อนตัวละคร hide ไปยังพื้นที่ทำงาน แล้วคลิกคำสั่งสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตัวละครจะหายไป 8. คลิกลากเลือกแสดงตัวละคร show ไปยังพื้นที่ทำงาน แล้วคลิกคำสั่งสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ตัวละครจะ แสดงตัวขึ้นมา

เรียนโค้ดดิ้ง (coding) โดยไม่ต้องใช้คอม กับหนังสือฟรี CS Unplugged - ครูเชียงราย

เรียนโค้ดดิ้ง (coding) โดยไม่ต้องใช้คอม กับหนังสือฟรี CS Unplugged คอมพิวเตอร์นั้นอยู่ทุกที่ เราทุกคนต่างต้องเรียนรู้เพื่อที่จะใช้งานมัน และหลายคนก็ต้องใช้งานมันทุกๆวัน แต่จริงๆแล้ว มันทำงานอย่างไร? มันคิดอย่างไร? และถ้าหากจะเขียนซอฟแวร์ให้ใช้งานง่ายและรวดเร็ว จะต้องทำอย่างไร?

อบรมออนไลน์หลักสูตรการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Unplugged ระดับประถมศึกษา C4T Plus-Unplugged ๑ รุ่นที่ 1 (19-20 กุมภาพันธ์ 2565) - คุณครูดอทคอม

Set size to 100% คำสั่งกำหนดขนาด เป็นคำสั่งกำหนดขนาดคิดเป็นเปอร์เซ็นต์ของภาพ การเขียนโปรแกรมเปลี่ยนรูปร่าง การเปลี่ยนรูปร่างนิยมใช้เมื่อตัวละครที่เคลื่อนที่ หรือพบกับเหตุการณ์แล้วเปลี่ยนลักษณะท่าทางการแสดงของตัวละคร โดยมีตัวอย่างคำสั่ง เช่น switch costume to…. คือ คำสั่งเปลี่ยนชุดตัวละคร จากชุดที่ ….. ไปยังชุดที่…… 1. คลิกเลือกตัวละครที่ต้องการเขียนโปรแกรมเปลี่ยนรูปร่าง 2. คลิกเลือกคำสั่ง Costumes ซึ่งเป็นคำสั่งจัดการชุดหรือรูปร่างของตัวละครแต่ละตัว 3. จะมีหน้าต่าง Costumes ขึ้นมา ให้สังเกตชุดของตัวละครด้านซ้ายซึ่งโดยปกติจะมี 2 ชุด 4. สามารถเลือกชุดหรือรูปร่างตัวละครเพิ่มได้ 5. จะมีหน้าต่าง Costume Library คือ หน้าต่างที่สามารถเลือกชุดหรือรูปร่างตัวละครเพิ่มเติมลงไป และสามารถวาดหรือเปลี่ยนสีเองได้ 6. เมื่อเลือกแล้วสังเกตชุดหรือรูปร่างที่เพิ่่มขึ้นซึ่งในตัวอย่างจะเป็นรูปแมวนอน 7. คลิกเลือก Scripts Looks แล้วลากคำสั่ง switch costume to costumel ไปยังพื้นที่สั่งงานเขียนโปรแกรม (Scripts area) 8. ลองใช้คำสั่งเปลี่ยนชุดหรือรูปร่างตัวละคร สังเกตการเปลี่ยนแปลงบริเวณเวที (Stage) การเขียนโปรแกรมเปลี่ยนภาพพื้นหลัง (Background) ในโปรแกรม Scratch สามารถวาดรูปเพื่อสร้างพื้นหลัง หรือสามารถนำภาพที่มีอยู่ในโปรแกรม หรือนำรูปถ่ายจากภายนอกเข้ามาเป็นฉาก พื้นหลังได้ เพื่อนำมาสร้างเป็นฉากเรื่องราวที่เหมาะสมกับตัวละคร 1.

ลากคำสั่ง point in direction ใส่พื้นที่ทำงาน โดยทิศทางเป็น -90O (ทิศตะวันตก-ด้านซ้าย) สังเกตทิศทางการหันหน้าของตัวละคร การเขียนโปรแกรม ย้ายตำแหน่งตัวละคร เป็นการย้ายตำแหน่งของตัวละคร (Sprite) โดยมีคำสั่งที่เกี่ยวข้อง เช่น 1. move ….. steps คือ คำสั่งกำหนดจำนวนก้าวเพื่อให้เคลื่อนที่ในแนวแกน X …. ก้าว 2. go to x: ….. y:….. คือ คำสั่งในการกำหนดระยะทางเพื่อย้ายตัวละครไปยังตำแหน่ง แกน X และแกน Y เท่าไร 1. คลิกเลือกตัวละคร (Sprites) ที่ต้องการ ก่อนจะทำให้ตัวละครใดเคลื่อนที่ต้องสังเกตและเลือกตัวละครที่ต้องการให้ถูกต้อง 2. สังเกตตำแหน่งของตัวละคร จากตัวอย่างตัวละครแมวอยู่ ณ ตำแหน่ง X=0, Y=0 3. เลือกชุดคำสั่ง Scripts Motion ซึ่งเป็นชุดคำสั่งควบคุมการเคลื่อนที่ของตัวละครมีลักษณะเป็นกล่องคำสั่ง ต่อกันแบบจิ๊กซอว์ 4. คลิกเลือกและลากคำสั่ง go to x:0 y:0 แล้วลากไปยังพื้นที่สั่งงานเขียนโปรแกรม (Scripts Area) ลากคำสั่งออกมา 4 คำสั่ง 5. พิมพ์ตำแหน่งที่ต้องการ ให้ทดลองเปลี่ยนตำแหน่งตามรูปตัวละครจะย้ายตำแหน่งไปตามตำแหน่งต่าง ๆ 6. เมื่อแก้ไขตำแหน่งแล้วให้คลิกคำสั่งนั้น เป็นการคลิกเพื่อสั่งให้คำสั่งทำงาน จากนั้นสังเกตการเปลี่ยนแปลงบริเวณเวที (Stage) 7.

กิจกรรม Unplugged เพื่อสร้างอัลกอริทึมด้วยตนเอง - Nattapon's Blog

Coding Unplugged สอนเขียนโค้ดไม่ใช้คอม EP. 9(1/2) อัลกอริทึมพื้นฐานเพื่อฝึกกระบวนการคิดสำหรับโค้ดดิ้ง - YouTube

  1. การ สอน แบบ unplugged songs
  2. วิธี ทํา ไหล บัว
  3. ต้นขอโทษ นฤบดินทร์ โพสต์ ขอบคุณทุกกำลังใจน่ะครับ “ผมขอโทษ” - ข่าวบอลไทยลีก
  4. Click 150i 2018 ราคา super
  5. โรคภูมิต้านตนเอง - วิกิพีเดีย
  6. การ สอน แบบ unplugged vr
  7. เกม frost night website
  8. ซาน ลอเรนโซ่ v Platense ผลบอลสด Live Score 17/04/2022
  9. Love actually เต็ม เรื่อง song
  10. ปวด ขา มาก

วิทยาการคำนวณ ป.2 หน่วย 2 เรื่อง เขียนโปรแกรมอย่างง่ายโดยใช้ซอฟต์แวร์และสื่อและตรวจสอบหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม - Imagineering Education

วิธีใช้กระดานชนวน และซองจดหมาย สอนเด็ก ป. 2 เขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข บทนี้คือบทแจกของ!!! โป้งและก้อยจะได้เล่นเกม Walk Rally สนุกสนาน ได้เรียนรู้การเขียนโปรแกรมแบบมีเงื่อนไข (conditional statement) โดยใช้บัตรคำสั่ง (คำสั่ง if__then__ ใช้บัตรคำสั่งได้ด้วยเหรอ? ​) ได้รับของขวัญอีกด้วย! ทั้งของขวัญที่เป็นสิ่งของ และแง่คิดคำสอนจากพ่อแม่ ผู้อ่านจะได้สัมผัสวิถีชนบทไทย ที่สอดประสานเข้ากับเทคนิคการสอนแนวคิดเชิงคำนวนที่ไม่เคยปรากฎที่ไหนมาก่อนในโลก บัตรคำสั่งเป็นเครื่องมือการสอนเขียนโปรแกรมแบบ unplugged (เขียนโปรแกรมโดยไม่ใช้คอมพิวเตอร์) ที่ใช้กันโดยแพร่หลาย แต่ลักษณะของโปรแกรมที่เขียนด้วยบัตรคำสั่งในชั้น ป. 1 ล้วนเป็นโปรแกรมที่ตรงไปตรงมา ทำงานตามลำดับเหมือนเดิมทุกครั้ง (sequential statement) ไม่มีการแตกแขนงตามเงื่อนไข และไม่มีการวนซ้ำ ในภาษาเขียนโปรแกรมที่ผู้ใหญ่ใช้กัน คำสั่งที่ควบคุมการทำงานแบบมีเงื่อนไขคือคำสั่ง if _ then _ else _ (แทบทุกภาษามีคำสั่งแบบนี้ แม้ syntax จะต่างกัน แต่แนวคิดเดียวกัน แม้แต่ภาษา assembly ก็มี JZ = jump if zero, และ JNZ = jump if not zero) ในภาษาแบบ block programming สำหรับเด็ก เช่น Scratch คำสั่ง if ก็มาในรูปแบบของบล็อกคำสั่งที่ใช้คลุมครอบคำสั่งอื่นๆ คำถามที่น่าสนใจคือว่า แล้วการเขียนโปรแกรมแบบ unplugged แบบที่ใช้บัตรคำสั่งล่ะ จะกำหนดเงื่อนไขด้วยวิธีใด?

ดาวน์โหลดฟรี หนังสือ CS Unplugged สอน Coding สอนวิทยาการคำนวณไม่ใช้คอม ฟรี สนับสนุนโดย Google Inc. ถูกแปลเป็นฉบับภาษาไทยแล้ว โดยอาจารย์และนักศึกษา SIIT ของม.

การ สอน แบบ unplugged performance

สอื่ การสอน Unplugged Coding สำหรับเด็กปฐมวัย ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… จดั ทำโดย นางรตั นา เบ้ียวไขม่ ุข ตำแหน่ง ครู รับเงินเดือนอันดับ คศ.