playojokickercode.com

โหลด Youtube Go

ยา คุม Dmpa – ฉีดยาคุม Dmpa ไป 2 ครั้งติดกัน - ถาม พบแพทย

June 7, 2022

Successfully reported this slideshow. การฉีดยาคุมกำเนิด Admin at Ultimate Avatar Clan: Hon 1. การฉีดยาคุมกำเนิด
2. การฉีดยาคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิดสำหรับสุภาพสตรียังคงเป็นที่นิยมอยู่พอสมควร สุภาพสตรีบางท่านชอบที่ในหนึ่งปี ต้องไปรับการฉีดยาคุมกำเนิดเพียง 4 ครั้งเท่านั้น เพราะยาฉีดที่ใช้กันอยู่ส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จะสามารถคุมกำเนิดอยู่ได้นานประมาณ 3เดือน
3. ปัญหาของการฉีดยาคุมกำเนิดอาจจะมีบ้างในสุภาพสตรีบางราย โดยปัญหาหลักๆ มีอยู่ 2 ประการ คือ การที่คนที่ฉีดยาคุมกำเนิดอาจจะมีเลือดออกทางช่องคลอดเล็กๆ น้อยๆ เป็นครั้งเป็นคราว ซึ่งถ้าเป็นบ่อย ท่านควรไปรับคำปรึกษาแนะนำจากแพทย์ บางครั้ง แพทย์อาจจะพิจารณาให้ยารักษา ปัญหาส่วนใหญ่ก็จะได้รับการแก้ไขให้หมดไปได้ ปัญหาอีกประการหนึ่งคือ การที่ประจำเดือนไม่มาเลยตลอด 3 เดือน บางท่านอาจจะชอบ เพราะไม่ต้องกังวลเรื่องรอบเดือนมา แต่บางท่านอาจจะกังวลใจ โดยเฉพาะบางท่านเข้าใจผิดในเรื่องประจำเดือนว่าเป็นเลือดเสีย ถ้าประจำเดือนไม่มา ตนเองอาจเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆ
4. ยาฉีดคุมกำเนิด
ยาฉีดคุมกำเนิด เป็นยาฮอร์โมนประเภทเดียวกับยาเม็ดคุมกำเนิด แต่เนื่องจากหญิงบางคนไม่ชอบการกินยาทุกวัน หรืออาจมีการหลงลืมกินยาได้ ซึ่งจะทำให้ผลในการคุมกำเนิดเลวลง จึงได้มีการนำเอาฮอร์โมนโพรเจสโทเจนอย่างเดียว หรือร่วมกับเอสโทรเจนมาใช้เป็นยาฉีดคุมกำเนิด โดยฉีดครั้งหนึ่งมีฤทธิ์คุมไปได้เป็นเวลานาน
5.

Medical

อรวิน แนะนำเพิ่มเติมว่า ถ้าเลือดหนืด ก็มีโอกาสเกิดลิ่มเลือดได้สูง ดังนั้นแนะนำในช่วงที่จะไปฉีดวัคซีน ให้กินน้ำให้เพียงพอ ก็จะช่วยลดความเสี่ยงได้ พยายามขยับตัวบ่อยๆเดินไปเดินมา ก็จะช่วยลดความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดได้เช่นกัน กลุ่ม LGBT ที่ใช้ฮอรโมน กลุ่มนี้ยังไม่มีข้อมูล รอไลฟ์ต่อไป อ. กำลังไปรีวิวข้อมูลในประเด็นนี้ ฉีดวัคซีนโควิด แต่เป็น ความดันโลหิตสูง ต้องเตรียมตัวอย่างไร หมอยง แนะฉีดวัคซีนที่มีอยู่สร้างภูมิต้านทานก่อน ชี้ไม่ต้องรอวัคซีนที่ยังมาไม่ถึง

ฝังยาคุม - Pantip

ฉีดยาคุม ยันฮี (DMPA) - ราคา 2565 (2022) | HDmall

โรงพยาบาลทุกแห่ง 2. สถานีอนามัย 3. คลินิกต่างๆ โดยที่แพทย์หรือพยาบาลจะฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อที่ต้นแขน หรือ สะโพก หลังฉีดอาจมีอาการปวดตึงๆในบริเวณที่ฉีดยา ประมาณ 1 วัน แล้วจะหายไป ที่สำคัญ คือ หลังฉีดยาอย่าไปคลึงบริเวณที่ฉีดยาเพราะจะทำให้ยาถูกดูดซึมเร็วเกินไป ทำให้ระดับยาเหลือไม่สูงพอที่จะป้องการการตั้งครรภ์จนครบ 3 เดือนได้ ข้อดีของยาฉีดคุมกำเนิด คือ 1. ประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดดีมาก 2. ราคาถูกเมื่อเทียบกับวิธีอื่นๆ เช่น ยาเม็ดคุมกำเนิด หรือ การใส่ห่วงอนามัย 3. สะดวก เนื่องจากฉีดครั้งเดียวสามารถป้องกันได้ 3 เดือน ไม่ต้อง รับประทานยาทุกวัน ข้อด้อยของยาฉีดคุมกำเนิด คือ 1. ต้องเสียเวลาไปสถานที่บริการ 2. ต้องพึ่งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการฉีดยา 3. ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอ ผลข้างเคียงของยาฉีดคุมกำเนิด ได้แก่ ก. ผลข้างเคียงของยาฉีดคุมกำเนิด ในกลุ่ม DMPA และ NET-EN หรือ Noristerat คือ 1. มีเลือดออกกะปริดกะปรอยจากโพรงมดลูก/เลือดออกทางช่องคลอด เป็นผลข้างเคียงที่พบบ่อยที่สุด 2. ไม่มีประจำเดือน หรือขาดประจำเดือน 3. น้ำหนักตัวเพิ่ม 4. ภาวะกระดูกบาง เนื่องจากฮอร์โมนโปรเจสตินจะไปยับยังการสร้างฮอร์โมนเอสโตรเจนจากรังไข่ ทำให้ระดับฮอร์โมนเอสโตรเจนลดลง มีผลทำให้มวลกระดูกลดลง ความหนาแน่นกระดูกลดลง (Bone mineral density) แต่พบว่าเป็นแบบชั่วคราว เมื่อหยุดฉีดยาคุม ความหนาแน่นของมวลกระดูกจะกลับคืนมาเป็นปกติ 5.

การคุมกำเนิดทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นจริงหรือ? | issue247.com | LINE TODAY

  • เบรก เกอร์ abb 2p price
  • การฉีดยาคุมกำเนิด
  • สาระ จำนวนและการดำเนินการ
  • ฉีดยาคุมกำเนิด 1 และ 3 เดือน - ต่างกันอย่างไร? ราคาเท่าไหร่?
  • ออกกำลัง กาย คือ
  • ฉีดยาคุม DMPA ไป 2 ครั้งติดกัน - ถาม พบแพทย
  • คน ไทย ใน แคนาดา
  • รีดให้หมดจนหยดสุดท้าย! “ไฮนซ์” ส่งนวัตกรรม “เครื่องรีดซองซอส” แก้ปัญหาบีบซอสไม่หมดซอง - Brand Buffet
  • [Daddy Survivor ] ตอนที่26 " หนอนผีเสื้อ.... เรียนรู้วงจรชีวิต "
  • หุ้น ที่ ควร ซื้อ
  • เปิดม่าน 'มิสยูนิเวิร์สไทยแลนด์ 2021' บนโลกดิจิทัลเต็มรูปแบบ

ฉีดยาคุม DMPA ไป 2 ครั้งติดกัน - ถาม พบแพทย

สูตินรีแพทย์จะเป็นผู้แนะนำวิธีที่ถูกต้องและเหมาะสมกับร่างกายของคุณเอง สุดท้ายคุณคือบุคคลที่สมบูรณ์แบบอยู่เสมอ อย่ามัวแต่สนใจตัวเลขบนตาชั่งเป็นอันขาด!

ยาฉีดคุมกำเนิด Injectable contraceptive - หาหมอ.com

สารสังเคราะห์
Depo-medroxy pregesterone acetate เป็นสารสังเคราะห์จำพวก โปรเจสเตอโรน (progesterone) ออกฤทธิ์โดยตรงต่อต่อมใต้สมองส่วนหน้า และ hypothallamusเพื่อยับยั้งการสร้าง การเก็บ และการหลั่งของฮอร์โมน ganadotrophinsทำให้ไม่มีการตกไข่ จึงสามารถใช้ในการคุมกำเนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเหตุที่การฉีดยาคุมกำเนิดชนิด Depo-medroxy pregesterone acetate ฉีดครั้งเดียว สามารถคุมกำเนิดได้นานถึง 3 เดือน ปริมาณตัวยาสำคัญ ขนาดของอานุภาค และปริมาตรของการฉีด มีส่วนสำคัญต่อประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดของยา
12. ฤทธิ์ของยาฉีดคุมกำเนิด
1. ปัจจุบันยาฉีดคุมกำเนิดนั้น ฉีดครั้งหนึ่งมีฤทธิ์คุมกำเนิดได้ 3 เดือนโดยจะฉีดบริเวณสะโพก เมื่อฉีดแล้วตัวยาจะอยู่ที่สะโพก และค่อยๆ ขับฮอร์โมนออกมา
2. หลักการพิจารณาเริ่มฉีดยาคุมกำเนิด การฉีดยาคุมกำเนิดก็เหมือนกับยากิน คือ ต้องเริ่มภายใน 5 วันแรกของรอบเดือนก่อนที่รังไข่จะทำงาน ถ้ารังไข่ทำงานแล้วจึงฉีด มีโอกาสท้องได้เช่นกัน
13. ฤทธิ์ของยาฉีดคุมกำเนิด(ต่อ)
3. หลังจากฉีดยาคุมกำเนิด รอบเดือนจะผิดปกติเกือบทุกคน รอบเดือนจะมาไม่เหมือนเดิม ระยะแรกจะมากะปริดกะปรอย ไม่แน่นอน ฉีดนานๆ หลายเข็มเข้า ประจำเดือนจะหายไปเลย แต่ถ้าหยุดฉีดไประยะหนึ่ง ฮอร์โมนจากธรรมชาติก็เริ่มใหม่ ประจำเดือนก็จะมาปกติ
4.

Lidegaard, Øjvind. 1353-60. 2. อ้างอิงBy Dawn Stacey, PhD, LMHC Medically reviewed by Scott Sundick, MD on March 03, 202 3. Medicines and healthcare products regulatory agency. Coronavirus vaccine – weekly summary of yellow card reporting[Internet]. [place unknown]: 2021 May 27. Available from: 4. MHRA issues new advice, concluding a possible link between COVID-19 Vaccine AstraZeneca and extremely rare, unlikely to occur blood clots[Internet]. [place unknown]: 2021 Apr 7. 5. Taylor Adam. Blood clot risks: comparing the AstraZeneca vaccine and the contraceptive pill [Internet]. Australia: The conversation; 2021 Apr 10 [updated 2021Apr 12]. 6. ประกาศราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยที่07/2564 เรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิท-19 และการใช้ยาคุมกำเนิดชนิดฮอร์โมน 7. ประกาศราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทยที่06/2564 เรื่องการฉีดวัคซีนป้องกันโรคโควิท-19ในสตรีตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร 8. กรมควบคุมโรค และคณะผู้เชี่ยวชาญเหตุการณ์ไม่พึงปรสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีน ฉบับที่ 31 พฤษภาคม 2564 เรื่องภาวการณ์เกิดลิ่มเลือดอุดตันในปอดกับวัคซีนโควิด19 9.

มึนงง วิงเวียนศีรษะ 6. อารมณ์เปลี่ยนแปลง ข. ผลข้างเคียงของยาฉีดคุมกำเนิดในกลุ่ม Cyclofem คือ 1. น้ำหนักตัวเพิ่ม 2. เป็นฝ้า 3. หน้าอก/เต้านมคัดตึง ใครเหมาะสำหรับการฉีดยาคุมกำเนิด? สตรีที่เหมาะสำหรับการฉีดยาคุมกำเนิด คือ 1. สตรีที่ต้องการคุมกำเนิดแบบชั่วคราว สะดวก ประหยัด ได้ประสิทธิภาพสูง 2. สตรีที่ไม่ต้องการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดทุกๆวัน 3. สตรีหลังคลอดที่กำลังให้นมบุตร (ใช้ DMPA หรือ NET-EN หรือ Noristerat) 4. สตรีที่มีอาการปวดประจำเดือนเป็นประจำ 5. สตรีที่สูบหรี่ ใครไม่เหมาะสำหรับการฉีดยาคุมกำเนิด? สตรีที่ไม่เหมาะสำหรับยาฉีดคุมกำเนิด คือ 1. สตรีที่มีเลือดออกทางช่องคลอดโดยไม่ทราบสาเหตุ 2. สตรีที่สงสัยหรือกำลังตั้งครรภ์ 3. สตรีที่โรคเลือดออกง่ายและหยุดยาก 4. สตรีที่มีภาวะกระดูกพรุน 5. สตรีที่มีภาวะซึมเศร้าอย่างรุนแรง 6. สตรีที่อ้วนมาก การดูแลรักษาหากมีประจำเดือนกะปริดกะปรอยหลังฉีดยาคุมกำเนิด อาจทำได้โดย 1. เปลี่ยนยามาเป็นชนิด ฉีด 1 เดือนต่อเข็ม (ยา Cyclofem) หรือ 2. เปลี่ยนเป็นรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด หรือ 3. รับประทานยาฮอร์โมนเอสโตรเจน โดยทั่วไป ระดับยายังคงมีอยู่ในกระแสเลือดแม้ว่าจะหยุดฉีดยาคุมไปแล้ว การกลับมาของประจำเดือนจึงช้ากว่าการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิด โดยทั่วไปสามารถตั้งครรภ์ได้ในปีแรกประมาณ70% และประมาณ 90% ในปีที่ 2 หลังหยุดฉีดยา ประโยชน์นอกเหนือจากการคุมกำเนิดของยาฉีดคุมกำเนิด คือ 1.

"ข้อเท็จจริง" เกี่ยวกับการฉีดยาคุมกำเนิด 1. […] การตั้งครรภ์จะเกิดขึ้นได้ มีปัจจัยหลักอะไรบ้าง? 1. ปริ […] รักษ์นรีคลินิก 07/04/2021 การตรวจภายใน ไม่น่ากลัวอย่างที่คิด มีคุณผู้หญิงจำนวนไม่ […]